วันอาทิตย์ที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2551

โครงสร้างHTML<แนะนำตัวเอง>



แนะนำตัวเอง







ชื่อ-สกุล ปภาดา จินาพันธ์
ชื่อเล่น อีฟ (eef)
เบอร์โทร 084-1366878
อีเมล์papada.eef@gmail.com



href="http://eef5.blogspot.com"target=_blank>เว็บบล็อกhttp://eef5.blogspot.com

เว็บ HOT HIT

www.hunsa.com

www.sanook.com

www.kaposk.com

www.yahoo.com



วันเสาร์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2551

HTML<แนะนำตัวเอง>

ชื่อ-สกุล
ปภาดา จินาพันธ์
ชื่อเล่น
อีฟ (eef)
เบอร์โทร
084-1366878
อีเมล์
papada.eef@gmail.com
เว็บบล็อกhttp://eef5.blogspot.com
เว็บ HOT HIT
www.hunsa.comwww.sanook.comwww.kaposk.comwww.yahoo.com

วันอังคารที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2551

ภาษาHTML,โครงสร้างHTML

โครงสร้างHTML
:: โครงสร้างภาษา HTML ภาษาคอมพิวเตอร์ทุก ๆ ภาษาจะมีโครงสร้างเฉพาะ ภาษา HTML ก็เช่นกัน โครงสร้างของภาษา HTML นั้นเป็นโครงสร้างที่ใช้งานง่าย และเข้าใจได้ไม่ยากนัก รูปแบบโครงสร้างของภาษา HTML มีดังนี้ รูปแบบโครงสร้าง HTML ....ตรงนี้คือส่วนข้อความหรือเนื้อหา รายละเอียดที่ต้องการให้ปรากฏที่ Web browser .... จะสังเกตได้ว่า Tag ที่มีปรากฏอยู่จะมีทั้งหมด 4 Tag ดังนี้1. 2. 3. 4. เมื่อลองสังเกตดูเราจะพบสัญลักษณ์ <...> และ เป็นคู่ จากโครงสร้างจะมี <...> 4 ตำแหน่ง และ อีก 4 ตำแหน่ง ซึ่งลักษณะการเขียน HTML จะมีลักษณะแบบนี้ สัญลักษณ์ <...> เราเรียกว่าการเปิด Tag ส่วน คือการปิด Tag นั้นเอง โดยส่วนใหญ่รูปแบบของการเขียน HTML จะมีการเปิดและปิด Tag แต่ก็มียกเว้นบ้าง สำหรับแท็กบางแท็ก ที่ไม่จำเป็นต้องมีการปิดแท็ก จะมีแท็กใดบ้างติดตามศึกษาในบทความต่อ ๆ ไปค่ะ Tip HTML การบันทึก (Save)ไฟล์เอกสาร HTMLการบันทึกไฟล์ที่เขียนด้วยภาษา HTML เพื่อแสดงผลผ่านทาง Web browser ทำได้โดยการ Save as เป็น filename.html หรือ filename.htm การแสดงผลของการเขียน HTML เราสามารถดูผลของการเขียนคำสั่ง ที่ได้บันทึกเป็นไฟล์เอกสาร .html หรือ .htm ผ่านทางเว็บ Web browser โดยหากในเครื่องของคุณมี Web browser คุณสามารถดับเบิ้ลคลิ๊กที่ไฟล์เอกสาร HTML ของคุณได้เลย เอกสาร HTML จะถูกเรียกให้แสดงผลด้วย Web browser ของคุณอัตโนมัติ หรือหากไม่เปิดด้วยวิธีการนี้ คุณอาจเปิด Web browser ขึ้นมาก่อน จากนั้น ทำการพิมพ์ที่ช่อง Address ของ Web browser โดยระบุเส้นทางการเข้าถึงไฟล์เอกสารที่คุณได้บันทึุกไว้ เช่น หากคุณบันทึกเอกสาร HTML ของคุณไว้ที่ไดร์ว C: ในโฟลเดอร์ชื่อ HTML โดยคุณบันทึกชื่อเอกสารชื่อว่า myhomepage.html คุณก็ระบุที่ช่อง Address ของ Web browser ดังนี้ c:/HTML/myhomepage.html แล้วกด Enter เพียงเท่านี้คุณก็จะเห็นผลของการเขียนภาษา HTML ของคุณแล้วค่ะ ** หมายเหตุ หากคุณทดสอบการแสดงผลแล้ว หน้า Web browser ของคุณไม่ปรากฏอะไรเลย หรือ แท็กบางแท็กที่คุณเขียนไม่แสดงผล พึงระลึกไว้ว่าคุณอาจเขียน Tag นั้น ๆ ผิดพลาด ลองกลับไปเช็คอีกรอบ เพราะการเขียน HTML นี้ หากมีอะไรที่เราเขียนผิดพลาด โปรแกรมจะไม่แจ้งให้เราทราบว่าผิดพลาดที่ตรงไหน แต่จะไม่แสดงผลคำสั่งของแท็กนั้น ๆ
ภาษาHTML
การเขียน Homepage ด้วย HTMLHTML ย่อมาจาก HyperText Markup Language เป็นภาษาคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่ง มีโครงสร้างการเขียนโดยใช้แท็ก (Tag) ควบคุมการแสดงผลของข้อความ รูปภาพ หรือวัตถุอื่นๆ ผ่านโปรแกรมเว็บเบราเซอร์ แต่ละ Tag อาจจะมีส่วนขยายที่เรียกว่า Attribute สำหรับระบุ หรือควบคุมการแสดงผลภาษา HTML เป็นภาษาที่ถูกกำหนดให้เป็นมาตรฐานในการเขียนโฮมเพจ ดังนั้นการศึกษาถึงโครงสร้างของภาษา HTML จึงถือเป็นพื้นฐานที่สำคัญ ในการต่อยอดเพื่อเขียนภาษาคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ที่ทำงานผ่านเว็บเบราเซอร์ หรือการพัฒนา Web Application ต่าง ๆ ใครที่คิดว่าจะเมินภาษา HTML เพราะสามารถสร้างโฮมเพจ หรือเว็บเพจโดยอาศัย โปรแกรมช่วยสร้าง ประเภท WYSIWYG (What - You -See -Is - What - You - Get) เช่น Dreamweaver Frontpag ฯลฯ เีพียงอย่างเดียว คงไม่สามารถต่อยอดความรู้ในการพัฒนาโฮมเพจ โดยใช้ภาษา PHP หรือ ASP ได้ ซึ่งในอนาคตสำหรับคนทำเว็บแล้ว ภาษาสคริปต์ PHP หรือ ASP เป็นสิ่งจำเป็นทีเดียวในการพัฒนา Web Applicationก่อนที่เราจะเริ่มลงมือเขียน HTML เรามาเตรียมความพร้อมกันก่อนค่ะ ซึ่งก่อนอื่นก็คงจะต้องขอแนะนำ application ต่าง ๆ ที่จำเป็นต้องใช้ในการเขียน homepage เบื้องต้น ซึ่งคงต้องมีอย่างน้อยที่สุด 2 อย่าง คือ1. Editer สำหรับใช้เขียนภาษา HTML ซึ่งในที่นี้เพื่อความสะดวกที่สุด ขอแนะนำให้ใช้ Notepad ซึ่งมีติดเครื่องมาอยู่แล้วเมื่อลงวินโดวน์ หรือหากใครจะดาวน์โหลดโปรแกรม Editplus มาใช้ก็ได้ค่ะ เพราะโปรแกรมตัวนี้สามารถแบ่งแยกสีของ Tag ได้ ซึ่งในอนาคตหากจะเขียน PHP โปรแกรมตัวนี้ก็ช่วยให้เขียนโปรแกรมได้ง่ายกว่า Notepad เยอะค่ะ2. Web Browser สำหรับใช้แสดงผลของโฮมเพจ สำหรับเว็บเบราเซอร์ ปัจจุบันมีให้เลือกหลายตัวค่ะ ไม่ว่าจะเป็น Netscape, Opera, Neoplanet และ Internet Explorer หรือที่เรียกย่อ ๆ ว่า IE ซึ่งแต่ละตัวก็มีหน้าตาแตกต่างกันไป แต่ที่อยากจะแนะนำให้ใช้ก็คือ IE เพราะว่าเจ้าตัวนี้จะถูกติดตั้งมาพร้อมกับวินโดว์อีกเช่นกัน ไม่ต้องไปเสียเวลาดาวน์โหลดเพิ่มค่ะ เกิดเป็นคนรุ่นใหม่นี้โชคดีหลายอย่างนะค่ะ สมัย Webmaster เริ่มเขียน HTML นี่ เจ้า IE นี่ยังไม่รวมอยู่กับวินโดวน์หรอกค่ะ ต้องไปหามาติดตั้งเพิ่ม

วันเสาร์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2551


สูตรคำนวณExcel

ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว นั้น ได้อธิบายว่าเซลต่างๆในเวิร์กชีตจะมีชื่อเรียกว่า Cell reference หรือ "ชื่อเดิม" ของเซลอยู่ทุกๆเซล ซึ่งชื่อนี้จะประกอบไปด้วยชื่อคอลัมนและแถวของเซลนัน้มารวมกัน เช่น เซลที่อยู่ตรงคอลัมน์ F แถวที่ 8 ก็จะเรียกว่าเซล F8 แต่ในการทำงานจริงบางครั้งจำเป็นต้องตั้งชื่อเซลให้สื่อความหมายมากกว่านี้ เพื่อให้นำไปใช้งานได้ง่ายและสะดวกขึ้น เช่น ถ้ามีเซลอยู่กลุ่มหนึ่งซึ่งเก็บจำนวนเงินที่นำเข้าสินค้าเดือนกุมภาพันธุ์ แทนที่จะเรียก "E5:E8" แต้ถ้าเราตั้งว่า Feb หรือ ก.พ. ก็น่าจะเข้าใจมากกว่า


ตั้งชื่อเซลเพื่อให้เรียกใช้ได้ง่าย
ดูผลลัพธ์จากแถบสถานะ
ตัวดำเนินการ ( Operator )
การสร้างสูตรคำนวน
ฟังก์ชั่นและสูตรคำนวน

ตั้งชื่อใหม่ให้เซลหรือกลุ่มเซล
ตั้งชื่ออัตโนมัติจากหัวคอลัมน์หรือหัวแถว
อธิบาย
ชื่อ
กลุ่มเซล
กุมภาพันธุ์
เซลC3 - C12
มีนาคม
เซล D3 - D12

ตั้งชื่อเซลโดยใช้ กล่องชื่อ ( Name box )
วิธีนี้เป็นวิธีที่ง่ายและรวดเร็วที่สุดในการตั้งชื่อเซลหรือกลุ่มเซลเพียงกลุ่มเดียว เพราะคุณสามารถจะพิมพ์ชื่อเข้าไปในช่อง name box (กล่องชื่อ) ได้ทันที ( วิธีนี้ใช้ตั้งชื่อเซลได้อย่างเดียว แต่จะลบหรือเปลี่ยนชื่อไม่ได้ )
1. เลือกเซลหรือกลุมเซลที่ต้องการตั้งชื่อเป็นชื่อเดียวกัน
2. คลิกที่ช่อง name box (กล่องชื่อ) พิมพ์ชื่อหรือกลุ่มเซล
3. เสร็จแล้วกด Enter
ประโยชน์ของชื่อเซลที่ตั้งเอง



1. เลือกกลุ่มเซลที่ต้องการนำมาคำนวรค่า
2. คลิกขวาบนแถบ Status ( สถานะ ) แล้วเลือกผลลัพธ์ที่ต้องการจากเมนูลัดซึ่งจะประกอบด้วย
None (ไม่มี) ไม่ต้องคำนวณหาผลลัพธ์ใดๆเลย
Average (ค่าเฉลี่ย) หาค่าเแลี่ยของตัวเลข
Count (จำนวนนับ) นับจำนวนเวลทั้งหมดที่คุณเลือกไว้
Count Nums (นับเฉพาะสิ่งที่เป้นตัวเลข) นับจำนวนเซลที่เป็นตัวเลข
Max (ค่ามากที่สุด) หาค่าสูงสุดจากทุกๆเซลที่เลือก
Min (ค่าน้อยที่สุด) หาค่าต่ำสุดจากทุกๆเซลที่เลือก
Sum (ผลรวม) หาผลรวมของตัวเลข


ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์


Opertor
ความหมาย
ตัวอย่างการใช ้
+
บวก
4+7
-
ลบ
15-3 หรือ -6
*
คูณ
8*3.5
/
หาร
9/4
%
เปอร์เซ็นต์
3%(มีค่าเท่ากับ 0.03)
^
ยกกำลัง
2^3(หมายถึง 2 ยกกำลัง3)


ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ


Operator
ความหมาย
ตัวอย่างการใช ้
=
เท่ากับ
A1= B1
>
มากกว่า
A1> B1
<
น้อยกว่า
A1< B1
>=
มากกว่าหรือเท่ากับ
A1>= B1
<=
น้อยกว่าหรือเท่ากับ
A1<= B1
<>
ไม่เท่ากับ
A1<> B1


ตัวดำเนินการกับข้อความ ( Text Operator )



ข้อความในที่นี้อาจเป็นตัวอักษรเพียงตัวเดียว ข้อความทั้งประโยค หรือข้อความที่ไม่มีตัวอักษรอะไรเลยก็ได้ (null string ) ซึ่งเวลาเขียนจะใช้เครื่องหมายคำพูดปิดและเปิดติดกันดังนี้ " "



Operator
ความหมาย
ตัวอย่างการใช ้
&
นำข้อความตั้งแต่ 2 ข้อความข้อความขึ้นไปมาต่อเป็นข้อความเดียวกัน
"บริษัท"& "อาหารไทย" หรือ A1&B1& C1


ระดับความสำคัญ
Opertor แต่ละตัวมีระดับความสำคัญไม่เท่ากัน เช่น เราใส่สูตร =2+3*5 โดยเราต้องการใหโปรแกรมนำ 2+5 (ได้5) แล้วนำไปคูณกับ 5 จะได้เป็น 25 แต่เครื่องหมายคูณ* มีระดับความสำคัญสูงกว่าบวก + โปรแกมจึงนำ3*5 ก่อน(ได้15) แล้วจึงบวกกับ 2 ได้เป็น 17 วิธีที่จะบังคับให้ Excel คิดเหมือนที่เรา ก็คือใส่ ( ) คร่อมส่วนที่ต้องการคำนวณก่อนเป็น =(2+3)*5 เท่านี้ก็ได้คำตอบที่ถูกต้องแน่นอน

ตารางต่อไปนี้จะแสดงระดบความสำคัญของ Opertor ต่างๆจากมากไปน้อย โดย Opertor ที่มีระดับความสำคัญสูงจะถูกคำนวณก่อน และถ้ามี opertor ที่มีระดับความสำคัญเดียวกันในสูตร Excel จะคำนวณจากซ้ายไปขวาทีละตัว


ระดับ
Opertor
หมายเหตุ
1
-
คือเครื่องหมายที่แสดงค่าลบของตัวเลข เช่น 2
2
%
เปอร์เซ็นต์
3
^
ยกกำลัง
4
* และ /
คูณ และหาร
5
+ และ -
บาก และลบ
6
&
นำข้อความตั้งแต่2ข้อความขึ้นไปมาต่อกันเป็ฯข้อความเดียว
7
= < > <= => <>
ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ



พิมพ์สูตรคำนวณด้วยตัวเอง
วิธีที่ง่ายที่สุดในการสร้างสูตรก็คือพิมพ์ทุกอย่างลงไปเอง ไม่ว่าจะเป็นชื่อเซล ตัวเลข หรือเครื่องหมายคำนวณต่างๆ
1. คลิกเลือกเซลที่จะใส่สูตรคำนวณ
2. พิมพ์เครื่องหมาย =
3. พิมพ์สูตรโดยใช้ชื่อเซล หรือตำแหน่งเซล
4. กด Enter ก็ขะได้ผลลัพธ์



ฟังก์ชั่นถ้าเราจะกล่าวถึงก็เหมือนกับว่าเป็น Operand ตัวหนึ่ง โดยในสูตรอาจประกอบไปด้วยฟังก์ชั่นอย่างเดียว เช่น AVERAGE( A2:A5:B12 )ซึ่งเป็นการหาค่าเฉลี่ยของตัวเลขในเซล 3 เซลในวงเล็บ หรืออาจมีฟังก์ชั่นปนกับข้อมูลอื่น เช่น =B4/SUM( D5:F5) คือให้นำผลรวมของเซล D5 ถึง F5 ไปหารค่าในเซล B4
สำหรับอาร์กิวเมนต์ที่เป็นชื่อเซล จะพิมพ์ลงไปเองหรือคลิกเมาส์เลือกก็ได้
ใช้ปุ่ม Insert Function หรือแถบสูตรคำนวณ ช่วยใส่ฟังก์ชั่น

1. คลิกเซลที่ใส่ฟังก์ชั่น
2. คลิกปุ่ม Insert Function ( แทรกฟังก์ชั่น )หรือกด Shift+ F3
3. คลิกเลือกประเภทของฟังก์ชั่นจากเมนูของช่อง Or select a category ( หรือเลือกประเภท ) เช่น AVERAGE
4. คลิก ตกลง
6. คลิกปุ่ม Collapse
7. ใช้เมาส์คลิกที่เป็นอาร์กิวเมนต์หรือที่จะนำมาคำนวณ คลิกปุ่ม Collapse
8. กด ตกลงเพื่อจบสูตร


เลือกฟังก์ชั่นจากปุ่ม AotoSum ( ผลรวมอัตโนมัติ )
สำหรับฟังก์ชั่นต่างๆทำหน้าที่ต่างๆดังต่อไปนี้
Sum (ผลรวม) หาผลรวมของตัวเลข
Average (ค่าเฉลี่ย) หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
Count (จำนวน) นับจำนวนเซลทั้งหมดที่คุณเลือกไว้
Max (ค่ามากที่สุด) หาค่าสูงสุดจากทุกๆเซลที่เลือก
Min (ค่าน้อยที่สุด) หาค่าต่ำสุดของตัวเลข
More Functions (ฟังก์ชั่นเพิ่มเติม) ไปเลือกฟังก์ชั่นอื่นๆ

วันเสาร์ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2551

short cut key

Shortcut Key
เรามาเรียนรู้การใช้ คีย์บอร์ด กับคำสั่งต่างๆ แทนการใช้เมาส์ กันดีกว่า โดยวันนี้ได้ รวบรวมคำสั่งที่ใช้กันอยู่บ่อยๆ แต่อย่าลืมที่จะทำแถบดำ กับข้อความที่เราต้องการ ก่อนนะค่ะ
Shif + ปุ่มลูกศร
เลือกข้อความ โดยใช้ปุ่มลูกศรช่วยในการทำตำแหน่ง แถบดำ เลือก ซ้าย - ขวา - บน - ล่าง
Shif + End
เลือกข้อมูลจาก cursor ไปยังตัวสุดท้ายของบรรทัด
Shif + Home
เลือกข้อมูลจาก cursor ไปยังตัวแรกของบรรทัด
Ctrl + Esc
เรียกเมนู Start
Ctrl + C หรือ Ctrl+Insert
copy (คัดลอก) ข้อมูล
Ctrl + V หรือ Shift + Insert
paste(วางข้อมูล) ข้อมูล
Ctrl + X หรือ Shift + Delete
cut (ตัด) ข้อมูล
Ctrl + P
print (พิมพ์)
Ctrl + B
เน้นอักษรหนา หรือกลับเป็นปกติ
Ctrl + U
ขีดเส้นใต้อักษร
Ctrl + I
ทำให้เป็นอักษรตัวเอน
Ctrl + E
จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง
Ctrl + R
จัดข้อความชิดขวา
Ctrl + L
จัดข้อความชิดซ้าย
Ctrl + A
Select All (เลือกทั้งหมด)
Alt + Tap
เปลี่ยนสลับหน้าต่างโปรแกรมที่เปิดอยู่
Tap
ใช้ในการเลือก ปุ่ม หรือ ช่องข้อความต่างๆ
F1
Help
Esc
ยกเลิกการเรียกใช้คำสั่ง
ครั้งนี้มีบทความ คลายเครียดเรื่อง "ศัพท์คอมพิวเตอร์" มาให้อ่านกันด้วยค่ะ ## ติดตามอ่าน ทิป ใหม่ๆทุก 2 อาทิตย์ นะค่ะ \(^-^)/

วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2551

การพิมพ์อักษรแป้นเหย้า

การพิมพ์บทที่ 1 อักษรแป้นเหย้า ฟ ห ก ด อ่ อา ส ว
การพิมพ์อักษรแป้นเหย้าประจำนิ้วตามแผนผัง เรียงตามลำดับจากนิ้วก้อยซ้ายจนถึงนี้วก้อยขวา
บทที่ 2 การพิมพ์อักษรแป้นเหย้า เ อ้ ง
การก้าวนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า
เ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ไปทางขวาดีดที่แป้น เ
อ้ ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ไปทางซ้ายดีดที่แป้น อ้
ง ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ไปทางขวาดีดที่แป้ง ง
บทที่ 3 การพิมพ์อักษรแป้นเหย้า พ อะ อี อั อำ ร
พ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น พ
อะ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น อะ
อี ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น อี
อั ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น อั
อำ ก้าวนิ้ว กลางซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น อำ
ร ก้าวนิ้ว กลางขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ร
บทที่ 4 การพิมพ์อักษรแป้น อ อิ ท อื แ ม
อ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ลงมาดีดที่แป้น อ
อิ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ลงมาดีดที่แป้น อิ
ท ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ลงมาดีดที่แป้น ท
อื ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ลงมาดีดที่แป้น อื
แ ก้าวนิ้ว กลางซ้าย ลงมาดีดที่แป้น แ
ม ก้าวนิ้ว กลางขวา ลงมาดีดที่แป้น ม
บทที่ 5 การพิมพ์อักษรแป้น ไ ป น ใ ๆ ผ ย
การก้าวนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดที่แป้นเหย้า
ไ ก้าวนิ้ว นางซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น ไ
ป ก้าวนิ้ว นางซ้าย ลงมาดีดที่แป้น ป
น ก้าวนิ้ว นางขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น น
ใ ก้าวนิ้ว นางขวา ลงมาดีดที่แป้น ใ
ๆ ก้าวนิ้ว ก้อยซ้าย ขึ้นมาดีดที่แป้น ๆ
ผ ก้าวนิ้ว ก้อยซ้าย ลงมาดีดที่แป้น ผบทที่ 7 การพิมพ์อักษรแป้น ถ ภ ค ต อึ อุ
ถ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น ถ
ภ ก้าวนิ้ว กลางซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น ภ
ค ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ค
ต ก้าวนิ้ว กลางขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ต
อึ ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น อึ
อ่ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น อ่
บทที่ 6 การพิมพ์อักษรแป้น บ ล ฝ
บ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น บ
ล ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ล
ฝ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ลงมาดีดที่แป้น ฝ
บทที่ 7 การพิมพ์อักษรแป้น ถ ภ ค ต อึ อุ
ถ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น ถ
ภ ก้าวนิ้ว กลางซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น ภ
ค ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ค
ต ก้าวนิ้ว กลางขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ต
อึ ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น อึ
อ่ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น อ่
บทที่ 8 พิมพ์อักษรแป้น จ ข ช - /
จ ก้าวนิ้ว นางขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น จ
ข ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ข
ช ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ช
- ก้าวนิ้ว นางซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น -
/ ก้าวนิ้ว ก้อยซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น /
บทที่ 9 การพิมพ์อักษรแป้น โ ฌ อ็ อ๋ ฑ ธ อ๊ ณ
ใช้นิ้วก้อยขวายกแคร่แล้วใช้นิ้วดีดแป้นตามตัวอักษร
บทที่ 10 การพิมพ์อักษรแป้น ฎ ฏ ษ ศ “ ฆ ฯ
ใช้นิ้วก้อยขวายกแคร่แล้วใช้นิ้วดีดตามแป้นอักษร
ฎ ก้าวนิ้วกลาง ขึ้นไปดีดแป้น ฏ
ฏ ก้าวนิ้วกลางซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น ฏ
ษ ก้าวนิ้วกลางขวา ดีดแป้น ษ
ฆ ก้าวนิ้วนางซ้าย ดีดแป้น ฆ
“ ก้าวนิ้วนางซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น “
ศ ใช้นิ้วนางขวา ดีดแป้น ศ
ฯ ก้าวนิ้วนางขวา ขึ้นไปดีดแป้น ฯ

วันพฤหัสบดีที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2551

บทที่2

บทที่ 2
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

สำหรับในบทนี้ขอแนะนำรายละเอียดที่สำคัญเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

2.1 ความหมายของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ (Computer) คือ อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic device) ที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการกับข้อมูล (Data) ทั้งตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์อื่นที่ใช้แทนความหมายในสิ่งต่าง ๆ โดยปฏิบัติงานภายใต้การควบคุมของชุดคำสั่งที่อยู่ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์เอง เพื่อทำการคำนวณและแสดงผลลัพธ์ออกทางอุปกรณ์แสดงผล โดยที่ผลลัพธ์เหล่านี้จัดว่าเป็นข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลและเรียบเรียงแล้ว จะเรียกผลลัพธ์นี้ว่า “สารสนเทศ (Information)”

2.2 ประเภทของคอมพิวเตอร์
เราสามารถแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์ออกได้ 2 แบบ คือ แบ่งตามลักษณะของข้อมูล และแบ่งตามสมรรถนะ ขนาด และราคา
2.2.1 แบ่งตามลักษณะของข้อมูล ได้ 3 ประเภท คือ
1. อนาลอกคอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นเป็นพิเศษ เพื่อใช้กับงานเฉพาะด้าน มีการทำงานโดยใช้หลักในการวัด มีลักษณะเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่แยกส่วนทำหน้าที่เป็นตัวกระทำและฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์
2. ดิจิทัลคอมพิวเตอร์ (Digital Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำงานโดยใช้หลักในการคำนวณแบบลูกคิด หรือหลักการนับ และทำงานกับข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่อง ลักษณะการคำนวณจะแปลงเลขเลขฐานสิบก่อน แล้วจึงประมวลผลด้วยระบบเลขฐานสอง แล้วให้ผลลัพธ์ออกมาอยู่ในรูปของตัวเลข ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแปลงเป็นเลขฐานสิบเพื่อแสดงให้ผู้ใช้เข้าใจง่าย มีความสามารถในการคำนวณและมีความแม่นยำมากกว่าอนาลอกคอมพิวเตอร์ 3. ไฮบริดคอมพิวเตอร์ (Hybrid Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้กับงานเฉพาะด้าน มีประสิทธิภาพสูงและสามารถทำงานที่ซับซ้อนได้ เนื่องจากมีการนำเทคนิคการทำงานของอนาลอกคอมพิวเตอร์และดิจิทัลคอมพิวเตอร์มาใช้งานร่วมกัน

2.2.2 แบ่งตามสมรรถนะ ขนาดและราคา ได้ 5 ประเภท คือ
1. ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด รุ่นแรก
สร้างในปีค.ศ1960
ตลอดจนการวิจัยในห้องปฏิบัติการ ทั้งของภาครัฐบาลและเอกชน เป็นต้น ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ที่รู้จักกันดีในปัจจุบันได้แก่ Cray Supercomputer
2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่มีความเร็วในการประมวลผลสูงรองลงมาจากซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ต้องอยู่ในห้องที่ควบคุมอุณหภูมิและปราศจากฝุ่นละออง และได้รับการพัฒนาให้มีหน่วยประมวลผลหลายหน่วยทำงานพร้อม ๆ กันเช่นเดียวกับซูเปอร์คอมพิวเตอร์ แต่มีจำนวนหน่วยประมวลผลที่น้อยกว่า จึงทำให้สามารถประมวลผลคำสั่งได้หลายสิบล้านคำสั่งต่อวินาที ระบบคอมพิวเตอร์ของเครื่องเมนเฟรมส่วนมากจะมีระบบคอมพิวเตอร์ย่อย ๆ ประกอบอยู่ด้วย เพื่อช่วยในการทำงานบางประเภทให้กับเครื่องหลัก มีราคาแพงมาก (แต่น้อยกว่าซูเปอร์คอมพิวเตอร์)
3. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดกลางที่มีประสิทธิภาพในการทำงานน้อยกว่าเมนเฟรมแต่สูงกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ สามารถรองรับการทำงานจากผู้ใช้หลายร้อยคน (Multi-user) ในการทำงานที่แตกต่างกัน (Multi Programming) เช่นเดียวกับเครื่องเมนเฟรม แต่สิ่งที่แตกต่างกันระหว่างเครื่องเมนเฟรมและเครื่องมินิคอมพิวเตอร์
4. เวิร์คสเตชันคอมพิวเตอร์ (Workstation Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ ที่สนับสนุนการทำงานของคอมพิวเตอร์เครือข่าย ซึ่งใช้ในการจัดสรรและใช้ทรัพยากรร่วมกัน เช่น แฟ้มข้อมูลโปรแกรมประยุกต์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เช่น เครื่องพิมพ์และอุปกรณ์อื่น ๆ โดยการเชื่อมโยงกับเทอร์มินัล (Terminal) หลาย ๆ เครื่อง อีกทั้งได้ถูกออกแบบมาให้มีความสามารถในการคำนวณด้านวิศวกรรม สถาปัตยกรรม หรืองานอื่น ๆ ที่เน้นการแสดงผลด้านกราฟิก เช่น การนำมาช่วยออกแบบภาพกราฟิกที่มีความละเอียดสูง
5. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ราคาถูกสามารถเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer หรือ PC) มีการพัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 1975 ซึ่งได้รับความนิยมเป็นอันมาก เมื่อ IBM ได้สร้างเครื่อง IBM PC ออกมา ซึ่งความแตกต่างระหว่างเวิร์คสเตชันคอมพิวเตอร์ และไมโครคอมพิวเตอร์ได้ลดน้อยลงเรื่อย ๆ เนื่องจากเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ระดับสูงในปัจจุบันมีประสิทธิภาพ และมีความเร็วในการแสดงผลที่ดีกว่าเวิร์คสเตชันคอมพิวเตอร์มาก สามารถใช้งานโดยใช้คนเดียว (Stand-alone)
§ คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (Desktop Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
ที่มีรูปแบบพื้นฐาน เหมาะสำหรับตั้งโต๊ะทำงานทั่วไป และได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก แบ่งเป็น 2 รูปแบบ คือ Desktop Model และ Tower Model โดย Desktop Model จะวางหน้าจอไว้บน Case
§ โน๊ตบุ๊คคอมพิวเตอร์ (Notebook Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก มี
น้ำหนักเบาประมาณ 2-4 กิโลกรัม และบางกว่าแบบตั้งโต๊ะ สามารถพกพาไปยังสถานที่ต่าง ๆ ได้สะดวก โดยมีหน้าจอและคีย์บอร์ดติดกัน ส่วนเม้าส์ (Mouse) และลำโพงจะอยู่ติดกับตัวเครื่อง โดยสามารถหาอุปกรณ์ดังกล่าวติดตั้งภายนอกเพิ่มเติมก็ได้ มีเครื่องอ่านแผ่นดิสก์ (Floppy Disk Drive) และเครื่องอ่านแผ่นซีดีรอม (CD-ROM drive) และพัฒนาให้มีขนาดเล็กกว่าเดิมในขนาดที่สามารถวางบนตักได้
§ คอมพิวเตอร์แทปเลท (Tablet Computer) มีลักษณะคล้ายโน๊ตบุ๊ค คือ มี
ขนาดเล็ก มีน้ำหนักเบา มีความบาง และสามารถเคลื่อนย้ายและพกพาได้สะดวก แต่จะมีความแตกต่างกันที่แทปเลทสามารถป้อนข้อมูลทางจอภาพได้ตามเทคโนโลยีของผู้ผลิต
§ คอมพิวเตอร์พกพา (Handheld Computer) มีขนาดเล็กกว่าโน๊ตบุ๊คและแทปเลท
คือ มีขนาดเท่าฝ่ามือ ถือเพียงมือเดียวได้ และใช้อีกมือถือปากกาที่เรียกว่า สไตล์ลัส (Stylus) เขียนข้อความบนจอเพื่อป้อนข้อมูลเข้าสู่เครื่องได้ด้วยเทคโนโลยีการรับรู้ลายมือ (Hand writing recognition) พกพาสะดวกมากกว่า สามารถจัดเก็บข้อมูลได้มาก คีย์บอร์ดและหน้าจอมีขนาดเล็ก บางรุ่นใช้ปากกาชนิดพิเศษในการนำเข้าข้อมูล มีน้ำหนักเพียงร้อยกว่ากรัม และจอสีที่มีความละเอียดสูงถึง 320x320 และสามารถต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต และบางรุ่นสามารถใช้ฟังเพลง MP3
PDA ในปัจจุบันที่นิยมได้แบ่งออกเป็นสองแบบ คือ พีดีเอในกลุ่มของปาล์ม (Palm) ซึ่งใช้ Palm OS จากบริษัทปาล์มต่าง ๆ และ PDA ในกลุ่มของพ๊อกเก็ตพีซี ( Pocker PC)

2.3 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 5 ส่วนด้วยกัน คือ
2.3.1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
หมายถึง สิ่งที่มองเห็นและจับต้องสัมผัสได้ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) เมนบอร์ด (Mainboard) และอุปกรณ์ต่อพ่วงรอบข้าง (Peripheral) ที่เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ดดิสก์ แป้นพิมพ์ เม้าส์ หน่วยประมวลผลกลาง จอภาพ เครื่องพิมพ์ และอุปกรณ์อื่น ๆ ฮาร์ดแวร์จะไม่สามารถทำงานด้วยตัวเองเดี่ยว ๆ ได้ จะต้องนำมาต่อเชื่อมเพื่อทำงานร่วมกันเป็นระบบที่เรียกว่า “ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)

2.3.2 ซอฟต์แวร์ (Software)
ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง โปรแกรม (program) หรือชุดคำสั่งที่ควบคุมให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ซึ่งคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่ประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทำงานได้ในทันที ต้องมีซอฟต์แวร์ซึ่งเป็นโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทำงานตามต้องการได้ โดยโปรแกรมหรือชุดคำสั่งนั้นจะเขียนจากภาษาต่าง ๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้น เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1) ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่จัดการและควบคุม
ทรัพยากรต่างๆของคอมพิวเตอร์
2) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างหรือพัฒนาขึ้น

2.3.3 ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information) คือ ข้อมูลต่างๆ ที่เรานำมาให้คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผลคำนวณ หรือกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้มาเป็นผลลัพธ์ที่เราต้องการ ยกตัวอย่างเช่น ข้อมูลบุคลากรเกี่ยวกับรายละเอียดประวัติส่วนตัว
2.3.4 บุคคลากร (Peopleware) คือ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานต่างๆ และผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในหน่วยงานนั้นๆ บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์นั้น มีความสำคัญมาก เพราะการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆ นั้นจะต้องมีการจัดเตรียมเปลี่ยนระบบ จัดเตรียมโปรแกรมดำเนินการต่างๆ ดังนั้นเราจึงถือว่าบุคลากร เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของ ระบบคอมพิวเตอร์ด้วย ซึ่งสามารถสรุปเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ดังนี้
1) เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ (Operator)
2) บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบ (System)
3) ผู้จัดการศูนย์ประมวลผลคอมพิวเตอร์ (Electronic Data Processing Manager)
4) ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (Computer user)
2.3.5 กระบวนการทำงาน (Documentation/Procedure) เป็นขั้นตอนการทำงานเพื่อให้ได้ ผลลัพธ์หรือข้อสนเทศจากคอมพิวเตอร์ ในการทำงานกับคอมพิวเตอร์จำเป็นที่จะต้องให้ผู้ใช้เข้าใจขั้นตอนการทำงาน ต้องมีระเบียบปฏิบัติให้เป็นแบบเดียวกัน มีการจัดทำคู่มือการใช้คอมพิวเตอร์ให้ทุกคนเรียนรู้และใช้อ้างอิงได้นอกจากนั้นเมื่อการใช้มาตรฐาน ช่วยให้การประสานงาน ระหว่างหน่วยงานย่อยๆ ราบรื่น การจัดซื้อจัดหา ตลอดจนการบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ก็จะง่ายขึ้นเพราะทุกหน่วยงานใช้มาตรฐานเดียวกัน

2.4 วงจรการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์จะสามารถทำงานได้ต้องประกอบด้วย 4 ขั้นตอนด้วยกัน คือ ส่วนรับข้อมูลและคำสั่ง ส่วนประมวลผล ส่วนที่ใช้แสดงผลลัพธ์จากการประมวลผล
1) ส่วนที่ทำหน้าที่รับข้อมูล และคำสั่ง เรียกว่า หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) ได้แก่ แป้นพิมพ์ (Keyboard) , เมาส์ (Mouse), จอยสติก (Joy stick), ปากกาแสง (Light pen), เครื่องอ่านพิกัด (Digitizing tablet), สแกนเนอร์ (Scanner), เครื่องอ่านรหัสแท่ง (Bar Code Reader), เอ็มไอซีอาร์ (Magnetic Ink Character Recognition – MICR)
2) ส่วนที่นำเอาข้อมูลและคำสั่งไปประมวลผล เรียกว่า หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) ประกอบด้วย 2 หน่วย คือ

- หน่วยควบคุม (Control Unit) ทำหน้าที่อ่านคำสั่งเข้ามาทีละคำสั่ง (Interuction) และ
ตีความ (Decode) ว่าเป็นคำสั่งใด ใช้ข้อมูลจากที่ไหน (เป็นข้อมูลที่ถูกนำเข้าหรือส่งออกจาก ALU

.5 รูปแบบการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ (Data Processing)
พิจารณาตามลักษณะการประมวลผลข้อมูล แบ่งได้ 3 ประเภท คือ
2.5.1 การประมวลผลส่วนบุคคล (Personal Computing)
ไมโครคอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer: PC) จะมีการประมวลผลโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องเดียวที่เป็นอิสระจากกัน เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะไม่สามารถติดต่อสื่อสาร เชื่อมโยงข้อมูลร่วมกันได้ ซึ่งหากต้องการใช้ข้อมูลร่วมกันจะต้องคัดลอกไปยังหน่วยความจำสำรอง เช่น แผ่นดิสก์ จากเครื่องเพื่อถ่ายโอนสู่อีกเครื่องหนึ่ง
2.5.2 การประมวลผลแบบรวมศูนย์ (Centralized Computing)
เป็นระบบที่นำอุปกรณ์ประมวลผล ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์มารวมไว้ในคอมพิวเตอร์เครื่องเดียว ใช้กับองค์กรขนาดใหญ่ซึ่งใช้คอมพิวเตอร์ชนิดเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)โดยมีผู้ทำหน้าที่ควบคุมการประมวลผลเพียงผู้เดียว ซึ่งเป็นที่ยุ่งยากมาก ต่อมาจึงมีการพัฒนาการประมวลผล โดยแบ่งออกได้เป็น 2 วิธีคือ
1) การประมวลผลแบบแบทช์ (Batch Processing) เป็นระบบที่ทำงานในลักษณะ
เตรียมการประมวลผลในขั้นต่อไป โดยใช้อุปกรณ์ประเภท Input/Output Unit ซึ่งอุปกรณ์เหล่านี้ไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของ CPU เช่น เครื่องบันทึกเทป (Key to tape) เครื่องบันทึกจานแม่เหล็ก (Key to disk)บัตรเจาะรู (Punched Card) เป็นอุปกรณ์นำเข้าและอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล มีลักษณะการประมวลผลโดยมีการรวบรวมข้อมูลไว้ช่วงเวลาหนึ่งก่อนที่จะนำข้อมูลมาประมวลผลพร้อมกัน การประมวลผลจะทำเป็นช่วงเวลา เช่น การทำบัญชีเงินเดือนพนักงานทุกสิ้นเดือน ระบบคิดดอกเบี้ยสะสม 3 เดือน 6 เดือน หรือ 1 ปี ของธนาคาร การบันทึกเกรดของนักศึกษาในแต่ละภาคเรียน จนถึงภาคเรียนสุดท้ายจึงพิมพ์ใบรับรองเกรดเฉลี่ย ข้อมูลการใช้โทรศัพท์มือถือภายในช่วงรอบบัญชี (1 เดือน) จะถูกเก็บสะสมจนสิ้นสุดรอบบัญชี การประมวลผลแบบนี้จะไม่มีการโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าระบบออฟไลน์ (Off-ling System) มีข้อดี คือ ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการใช้อุปกรณ์ ข้อเสีย คือ ข้อมูลจะไม่ทันสมัย
2) การประมวลผลแบบออนไลน์ (On-line Processing) เป็นวิธีที่ผู้ใช้สามารถใช้งาน
พร้อมกันได้หลายคน (Multi-user) จะประมวลผลทันทีเมื่อรับข้อมูลเข้ามา โดยไม่ต้องรอรวมข้อมูลหรือสะสมข้อมูลไว้ก่อน โดยมีการเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่อยู่ในสถานที่อื่น มี2.6 คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์
โดยรวมเรียกลักษณะเด่น ทั้ง 4 รวม ๆ กันว่า 4S Special ของเครื่องคอมพิวเตอร์
1) ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ด้านความจำ (Storage)
2) ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ด้านความเร็ว (Speed)
ความเร็วในการประมวลผลข้อมูลจะถูกกำหนดโดยหน่วยประมวลผล (Processor)





คำถาม

1.ซอฟต์แวร์คืออะไร
2. สื่อกลางที่ทำให้มนุษย์และคอมพิวเตอร์ติดต่อสื่สารกันได้คืออะไร
3.ภาษาคอมพิวเตอร์แบ่งเป็นกี่ประเภทอะไรบ้าง
4. โปรแกรมวินโดวส์เป็นซอฟต์แวร์ประเภทใด
5.ซอฟต์แวร์สำเร็จคืออะไร
6.จงบอกหน้าที่หลักของวอฟต์แวร์ระบบ
7.ซอฟต์แวร์มีกีชนิดอะไรบ้าง
8.จงบอกส่วนประกอบพ้นฐานของฮาร์แวร์
9.จงบอกหน้าที่ของหน่วยความจำหลักและหนว่ยความจำรอง
10.จงบอกหน่วยของหน่วยความจำหลักพร้อมอธิบาย

บทที่1

บทที่ 1
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
จุดกำเนิดของคอมพิวเตอร์
ต้นกำเนิดของคอมพิวเตอร์อาจกล่าวได้ว่ามาจากแนวความคิดของระบบตัวเลข ซึ่งได้พัฒนาเป็นวิธีการคำนวณต่าง ๆ รวมทั้งอุปกรณ์ที่ช่วยในการคำนวณอย่างง่าย ๆ คือ" กระดานคำนวณ" และ "ลูกคิด"
ในศตวรรษที่ 17 เครื่องคำแบบใช้เฟื่องเครื่องแรกได้กำเนิดขึ้นจากนักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศษ คือ Blaise Pascal โดยเครื่องของเขาสามารถคำนวณการบวกการลบได้อย่างเที่ยงตรง และในศตวรรษเดียวกันนักคณิตศาสตร์ชาวเยอร์มันคือ Gottried Wilhelm von Leibniz ได้สร้างเครื่องคิดเลขเครื่องแรกที่สามารถคูณและหารได้ด้วย
ในต้นศตวรรษที่ 19 ชาวฝรั่งเศษชื่อ Joseph Marie Jacquard ได้พัฒนาเครื่องทอผ้าที่สามารถโปแกรมได้ โดยเครื่องทอผ้านี้ใช้บัตรขนาดใหญ่ ซึ่งได้เจาะรู้ไว้เพื่อควบคุมรูปแบบของลายที่จะปัก บัตรเจาะรู(punched card) ที่ Jacquard
ต่อมาในศตวรรษเดียวกัน ชาวอังกฤษชื่อ Charles Babbage ได้ทำการสร้างเครื่องสำหรับแก้สมการโดยใช้พลังงานไอน้ำ เรียกว่า difference engine และถัดจากนั้นได้เสนอทฤษฎีเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์สมัยใหม่
จากนั้นประมาณปี ค.ศ. 1886 Dr.Herman Hollerith ได้พัฒนาเครื่องจัดเรียงบัตรเจาะรูแบบ electromechanical ขึ้น ซึ่งทำงานโดยใช้พลังงานไฟฟ้า และสามารถทำการ จัดเรียง (sort) และ คัดเลือก (select) ข้อมูลได้ ต่อมาในปี ค.ศ. 1896 Hollerith ได้ทำการก่อตั้งบริษัทสำหรับเครื่องจักรในการจัดเรียงชื่อ Tabulating Machine Company และในปี ค.ศ.1911 Hollerith ได้ขยายกิจการโดยเข้าหุ้นกับบริษัทอื่นอีก 2 บริษัทจัดตั้งเป็นบริษัท Computing -Tabulating-Recording-Company ซึ่งประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก และในปี ค.ศ. 1924 ได้เปลี่ยนชื่อเป็น International Business Corporation หรือที่รู้จักกันต่อมาในชื่อของบริษัท IBM นั่นเอง
ปี ค.ศ.1939 Dr. Howard H. Aiken จาก Harvard University ได้ร่วมมือกับบริษัท IBM ออกแบบคอมพิวเตอร์โดยใช้ทฤษฎีของ Babbage และในปี ค.ศ.1944 Harvard mark I ก็ได้ถือกำเนิดขึ้นเป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรก ซึ่งมีขนาดยาว 5 ฟุต ใช้พลังงานไฟฟ้าและใช้ relay แทนเฟือง แต่ยังทำงานได้ช้าคือใช้เวลาประมาณ 3-5 วินาทีสำหรับการคูณ
การพัฒนาที่สำคัญกับ Mark I ได้เกิดขึ้นปี 1946 ดดย Jonh Preper Eckert, Jr. และ Dr. Jonh W.Msuchly จาก University of Pennsylvnia ได้ออกแบบสร้างเครื่อง ENIAC ( Electronic Numeric Integator and Calcuator ) ซึ่งทำงานได้เร็วอยู่ในหน่วยของหนึ่งส่วนล้านวินาที ในขณะที่ Mark I ทำงานอยู่ในหน่วยของหนึ่งส่วนพันล้านเท่า โดยหัวใจของความสำเร็จนี้อยู่ที่การใช้หลอดสูญญากาศมาแทนที่ relay นั่นเอง และถดจากนั้น Mauchly และ Eckert ก็ทำการสร้าง UNIVAC ซึ่งเป็นคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิส์เพื่อการค้าเครื่องแรกของโลก


การพัฒนาที่สำคัญได้เกิดขึ้นมาอีก เมื่อ Jonh von Neumann ซึ่งเป็นที่ปรึกษาของโครงการ ENIAC Dr. Von neumann ยังได้นำระบบเลขฐานสองมาใช้ในคอมพิวเตอร์ซึ่งหบักการต่งๆเหล่านี้ได้ทำให้เครื่อง IAS ที่สร้างโดย Dr. von Neumann เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เอนกประสงค์เครื่องแรกของโลก เป็นการเปิดศักราชของคอมพิวเตอร์อย่างแท้จริงและยังได้เป็นบิดาคอมพวเตอร์คนที่ 2
ยุคของคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สามารถแบ่งออกได้โดยแบ่งส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ (Hardward ) เป็น 4 ยุคด้วยกัน
ยุคที่ 1 (1951-1958)
ก่อนหน้าปี 1951 เครื่องคอมพิวเตอร์จะมีใช้เฉพาะนักวิทยาศาสตร์ วิศวกร และทหารเท่านั้น จนกระทั่งผู้สร้าง ENIAC คือ Mauchly และ Eckert ได้จัดตั้งบริษัทเพื่อทำตลาดเชิงพาณิชย์ของเครื่องรุ่นถัดมาของพวกเขา คือเครื่อง UNIVAC ซึ่งคอมพิวเตอร์ในยุคนี้จะมี หลอดสูญญากาศ และ ดรัมแม่เหล็ก (magnetic drum)
คอมพิวเตอร์ของยุคนี้มีขนาดใหญ่โต เช่น มาร์ค วัน (MARK I), อีนิแอค (ENIAC), ยูนิแวค(Univac)
ยุคที่ 2 (1959-1964)
การพัฒนาที่สำคัญที่สุดที่แบ่งแยกยุคนี้ออกจากยุคแรก คือการแทนที่หลอดสูญญากาศด้วยทรานซิสเตอร์ (transistor) หน่วยความจำพื้นฐานก็ได้มีการพัฒนามาเป็น magnetic core รวมทั้งมีการใช้ magnetic disk
ในยุคที่ 2 เริ่มมีการติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องที่อยู่ห่างกันโดยผ่านสายโทรศัพท์ ถึงแม้ว่าจะติดสื่อสารกันได้ช้ามากก็ตาม ปัญหาในยุคนี้คืออุปกรณ์รับข้อมูลและอุปกรณ์แสดงผลทำงานได้ช้ามาก ทำให้คอมพิวเตอร์ต้องรอการรับข้อมูลหรือการแสดงผลบ่อย ๆ ซึ่ง Dr.Daniel Slotnick ได้ทำการพัฒนาเพิ่มเติม โดยใช้หลักการของการประมวลผลแบบขนานกัน นอกจากนั้ยังมีกลุ่มคณาจารย์และนักเรียกจาก Massachusetts Instiute of Technoligy พัฒ

นาระบบ มัลติโปรแกรม
ยุคที่ 3 (1965-1971)
ในยุคที่ 3 เป็นยุคของอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ที่มีการเติบโตมาก ได้มีการนำ แผงวงจรรวม (IC หรือ integrated circuits) ซึ่งประกอบด้วยทรานซิสเตอร์และวงจรไฟฟ้าที่รวอยู่บนแผ่นซิลิกอนเล็ก ๆ มาแทนการประกอบแผ่นวงจรพิมพ์ลาย ทำให้เวลาการทำงานขิงคอมพิวเตอร์ลดลงอยู่ในหน่วยหนึ่งส่วนพันล้านวินาที นอกจากนี้ มินิคอมพิวเตอร์ได้ถือกำเนิดขึ้นในปี ค.ศ.1965 คือเครื่อง PDP-8
ยุคที่ 4 (1971-)สะสมไว้มาใช้งานให้เป็นประโยชน์ (Artificialสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และประเทศในทวีปยุโรปกำลังสนใจค้นคว้าและพัฒนาทางด้านนี้กันอย่างจริงจังคอมพิวเตอร์ยุคนี้เป็นผลจากวิชาการด้านปัญญาประดิษฐ์ Intelligence : AI) ประเทศต่างๆ ทั่วโลกไม่ว่าจะเป็น


ในยุคที่ 4 เทคโนโลยีแผงวงจรรวมได้พัฒนาขึ้นเป็น แผงวงจรรวมขนาดใหญ่ (LSI หรือ large-scale integartion) และจากนั้นก็มีการพัฒนาต่าเป็น แผงวงจรขนาดใหญ่มาก (Very Large-Scale integartion - VLSI) ซึ่งทำให้เกิด microprocessor ตัวโลกของโลก คือ Intel 4004 จากบริษัท Intel ซึ่งเป็นการใช้แผ่นชิฟเพียงแผ่นเดียวสำหรับเก็บ หน่วยควบคุม (control unit) และ คำนวณเลขตรรกะ (arithmetic-logic unit) ของคอมพิวเได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจากปัจจุบันสามารถเก็บทรานซิสเตอร์นับล้านตัวไว้ ยุคที่ 5
คอมพิวเตอร์ยุคที่ห้า เป็นคอมพิวเตอร์ที่มนุษย์พยายามนำมาเพื่อช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหาให้ดียิ่งขึ้น โดยจะมีการเก็บความรอบรู้ต่าง ๆ เข้าไว้ในเครื่อง สตอร์ทั้งหมดเทคนิคในการย่อทรานซีสเตอร์ให้อยู่กันอย่างหนาแน่นบนแผ่นซิลิกอนในส่วนของหน่วยบันทึกข้อมูลสำรอง (secondary storage)
นี้ ามารถเรียกค้นและดึงความรู้ที่
คำถาม10ข้อ
1. ไมโครคอมพิวเตอร์เป็นคอมพิวเตอร์ที่ผลิตในยุค
2. ยุค........คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงเรียกว่ามินิคอมพิวเตอร์
3. คอมพิวเตอร์..สามารถทำงานพร้อมกันระหว่างคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ที่อยุ่ต่างกัน
4.อินิแอคซึ่งเป็นเครื่องคำนวณฬนยุค......จึงเป็นคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานทั่วไปเคื่อง
แรกของโลก
5.ลูกคิดถือว่าเป็นเครื่องคำนวณในยุค
6.พัฒนาการสร้างคอมพิวเตอร์โดยมีทรานซิสเตอร์ให้มีขนาดเล็กมากจนสามารถ
บรรจุทรานซิสเตอร์จำนวณมากลงบนแผ่นซิลิกอนขนาดเล็กในยุค
7.ในยุค......มีผุ้พยายามสร้างเครื่องคำนวณในรุปไม้บรรทัด
8.จงบอกชื่อของเครื่องคำนวณในยุคต่าง
9.การทำงานของคอมพิวเตอร์ในยุค.....ใช้วิธีการควบคุมการไหลของกระแส
อิเล็กตรอนที่วิงผ่านแผ่นตาราง
10.จงบอกความแตกต่างระห่วางเครื่องคอมพิวเตอร์กับเครื่องคิดเลข

วันอาทิตย์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2551

รหัสแอสกี

Hex = เลขฐาน 16
Binary = 0 , 1
A = 41
B = 42
C = 43
D = 44
E = 45
F = 46
G = 47
H = 48
I = 49
J = 4a
K = 4b
L = 4c
M = 4b
N = 4e
O = 4f
P = 50
Q = 51
R = 52
S = 53
T = 54
U = 55
V = 56
W = 57
X = 58
Y = 50
Z = 5a

Papada = 504150414441
P = 50 = 0101 0000
A = 41 = 0100 0001
P = 50 = 0101 0000
A = 41 = 0100 0001
D = 44 = 0100 0100
A = 41 = 0100 0001

Jinapan = 4a494e4150414e
J = 4a = 01001010
I = 49 = 0100 1001
N = 4e = 0100 1110
A = 41 = 0100 0001
P = 50 = 0101 0000
A = 41 = 0100 0001
N = 4e = 0100 1110

วันอาทิตย์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2551

แนะนำตัวเอง

ปภาดา จินาพันธ์ (อีฟ) เกิด 12กค.2526 เบอร์โทร 0841366878