วันอาทิตย์ที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2551

โครงสร้างHTML<แนะนำตัวเอง>



แนะนำตัวเอง







ชื่อ-สกุล ปภาดา จินาพันธ์
ชื่อเล่น อีฟ (eef)
เบอร์โทร 084-1366878
อีเมล์papada.eef@gmail.com



href="http://eef5.blogspot.com"target=_blank>เว็บบล็อกhttp://eef5.blogspot.com

เว็บ HOT HIT

www.hunsa.com

www.sanook.com

www.kaposk.com

www.yahoo.com



วันเสาร์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2551

HTML<แนะนำตัวเอง>

ชื่อ-สกุล
ปภาดา จินาพันธ์
ชื่อเล่น
อีฟ (eef)
เบอร์โทร
084-1366878
อีเมล์
papada.eef@gmail.com
เว็บบล็อกhttp://eef5.blogspot.com
เว็บ HOT HIT
www.hunsa.comwww.sanook.comwww.kaposk.comwww.yahoo.com

วันอังคารที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2551

ภาษาHTML,โครงสร้างHTML

โครงสร้างHTML
:: โครงสร้างภาษา HTML ภาษาคอมพิวเตอร์ทุก ๆ ภาษาจะมีโครงสร้างเฉพาะ ภาษา HTML ก็เช่นกัน โครงสร้างของภาษา HTML นั้นเป็นโครงสร้างที่ใช้งานง่าย และเข้าใจได้ไม่ยากนัก รูปแบบโครงสร้างของภาษา HTML มีดังนี้ รูปแบบโครงสร้าง HTML ....ตรงนี้คือส่วนข้อความหรือเนื้อหา รายละเอียดที่ต้องการให้ปรากฏที่ Web browser .... จะสังเกตได้ว่า Tag ที่มีปรากฏอยู่จะมีทั้งหมด 4 Tag ดังนี้1. 2. 3. 4. เมื่อลองสังเกตดูเราจะพบสัญลักษณ์ <...> และ เป็นคู่ จากโครงสร้างจะมี <...> 4 ตำแหน่ง และ อีก 4 ตำแหน่ง ซึ่งลักษณะการเขียน HTML จะมีลักษณะแบบนี้ สัญลักษณ์ <...> เราเรียกว่าการเปิด Tag ส่วน คือการปิด Tag นั้นเอง โดยส่วนใหญ่รูปแบบของการเขียน HTML จะมีการเปิดและปิด Tag แต่ก็มียกเว้นบ้าง สำหรับแท็กบางแท็ก ที่ไม่จำเป็นต้องมีการปิดแท็ก จะมีแท็กใดบ้างติดตามศึกษาในบทความต่อ ๆ ไปค่ะ Tip HTML การบันทึก (Save)ไฟล์เอกสาร HTMLการบันทึกไฟล์ที่เขียนด้วยภาษา HTML เพื่อแสดงผลผ่านทาง Web browser ทำได้โดยการ Save as เป็น filename.html หรือ filename.htm การแสดงผลของการเขียน HTML เราสามารถดูผลของการเขียนคำสั่ง ที่ได้บันทึกเป็นไฟล์เอกสาร .html หรือ .htm ผ่านทางเว็บ Web browser โดยหากในเครื่องของคุณมี Web browser คุณสามารถดับเบิ้ลคลิ๊กที่ไฟล์เอกสาร HTML ของคุณได้เลย เอกสาร HTML จะถูกเรียกให้แสดงผลด้วย Web browser ของคุณอัตโนมัติ หรือหากไม่เปิดด้วยวิธีการนี้ คุณอาจเปิด Web browser ขึ้นมาก่อน จากนั้น ทำการพิมพ์ที่ช่อง Address ของ Web browser โดยระบุเส้นทางการเข้าถึงไฟล์เอกสารที่คุณได้บันทึุกไว้ เช่น หากคุณบันทึกเอกสาร HTML ของคุณไว้ที่ไดร์ว C: ในโฟลเดอร์ชื่อ HTML โดยคุณบันทึกชื่อเอกสารชื่อว่า myhomepage.html คุณก็ระบุที่ช่อง Address ของ Web browser ดังนี้ c:/HTML/myhomepage.html แล้วกด Enter เพียงเท่านี้คุณก็จะเห็นผลของการเขียนภาษา HTML ของคุณแล้วค่ะ ** หมายเหตุ หากคุณทดสอบการแสดงผลแล้ว หน้า Web browser ของคุณไม่ปรากฏอะไรเลย หรือ แท็กบางแท็กที่คุณเขียนไม่แสดงผล พึงระลึกไว้ว่าคุณอาจเขียน Tag นั้น ๆ ผิดพลาด ลองกลับไปเช็คอีกรอบ เพราะการเขียน HTML นี้ หากมีอะไรที่เราเขียนผิดพลาด โปรแกรมจะไม่แจ้งให้เราทราบว่าผิดพลาดที่ตรงไหน แต่จะไม่แสดงผลคำสั่งของแท็กนั้น ๆ
ภาษาHTML
การเขียน Homepage ด้วย HTMLHTML ย่อมาจาก HyperText Markup Language เป็นภาษาคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่ง มีโครงสร้างการเขียนโดยใช้แท็ก (Tag) ควบคุมการแสดงผลของข้อความ รูปภาพ หรือวัตถุอื่นๆ ผ่านโปรแกรมเว็บเบราเซอร์ แต่ละ Tag อาจจะมีส่วนขยายที่เรียกว่า Attribute สำหรับระบุ หรือควบคุมการแสดงผลภาษา HTML เป็นภาษาที่ถูกกำหนดให้เป็นมาตรฐานในการเขียนโฮมเพจ ดังนั้นการศึกษาถึงโครงสร้างของภาษา HTML จึงถือเป็นพื้นฐานที่สำคัญ ในการต่อยอดเพื่อเขียนภาษาคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ที่ทำงานผ่านเว็บเบราเซอร์ หรือการพัฒนา Web Application ต่าง ๆ ใครที่คิดว่าจะเมินภาษา HTML เพราะสามารถสร้างโฮมเพจ หรือเว็บเพจโดยอาศัย โปรแกรมช่วยสร้าง ประเภท WYSIWYG (What - You -See -Is - What - You - Get) เช่น Dreamweaver Frontpag ฯลฯ เีพียงอย่างเดียว คงไม่สามารถต่อยอดความรู้ในการพัฒนาโฮมเพจ โดยใช้ภาษา PHP หรือ ASP ได้ ซึ่งในอนาคตสำหรับคนทำเว็บแล้ว ภาษาสคริปต์ PHP หรือ ASP เป็นสิ่งจำเป็นทีเดียวในการพัฒนา Web Applicationก่อนที่เราจะเริ่มลงมือเขียน HTML เรามาเตรียมความพร้อมกันก่อนค่ะ ซึ่งก่อนอื่นก็คงจะต้องขอแนะนำ application ต่าง ๆ ที่จำเป็นต้องใช้ในการเขียน homepage เบื้องต้น ซึ่งคงต้องมีอย่างน้อยที่สุด 2 อย่าง คือ1. Editer สำหรับใช้เขียนภาษา HTML ซึ่งในที่นี้เพื่อความสะดวกที่สุด ขอแนะนำให้ใช้ Notepad ซึ่งมีติดเครื่องมาอยู่แล้วเมื่อลงวินโดวน์ หรือหากใครจะดาวน์โหลดโปรแกรม Editplus มาใช้ก็ได้ค่ะ เพราะโปรแกรมตัวนี้สามารถแบ่งแยกสีของ Tag ได้ ซึ่งในอนาคตหากจะเขียน PHP โปรแกรมตัวนี้ก็ช่วยให้เขียนโปรแกรมได้ง่ายกว่า Notepad เยอะค่ะ2. Web Browser สำหรับใช้แสดงผลของโฮมเพจ สำหรับเว็บเบราเซอร์ ปัจจุบันมีให้เลือกหลายตัวค่ะ ไม่ว่าจะเป็น Netscape, Opera, Neoplanet และ Internet Explorer หรือที่เรียกย่อ ๆ ว่า IE ซึ่งแต่ละตัวก็มีหน้าตาแตกต่างกันไป แต่ที่อยากจะแนะนำให้ใช้ก็คือ IE เพราะว่าเจ้าตัวนี้จะถูกติดตั้งมาพร้อมกับวินโดว์อีกเช่นกัน ไม่ต้องไปเสียเวลาดาวน์โหลดเพิ่มค่ะ เกิดเป็นคนรุ่นใหม่นี้โชคดีหลายอย่างนะค่ะ สมัย Webmaster เริ่มเขียน HTML นี่ เจ้า IE นี่ยังไม่รวมอยู่กับวินโดวน์หรอกค่ะ ต้องไปหามาติดตั้งเพิ่ม

วันเสาร์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2551


สูตรคำนวณExcel

ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว นั้น ได้อธิบายว่าเซลต่างๆในเวิร์กชีตจะมีชื่อเรียกว่า Cell reference หรือ "ชื่อเดิม" ของเซลอยู่ทุกๆเซล ซึ่งชื่อนี้จะประกอบไปด้วยชื่อคอลัมนและแถวของเซลนัน้มารวมกัน เช่น เซลที่อยู่ตรงคอลัมน์ F แถวที่ 8 ก็จะเรียกว่าเซล F8 แต่ในการทำงานจริงบางครั้งจำเป็นต้องตั้งชื่อเซลให้สื่อความหมายมากกว่านี้ เพื่อให้นำไปใช้งานได้ง่ายและสะดวกขึ้น เช่น ถ้ามีเซลอยู่กลุ่มหนึ่งซึ่งเก็บจำนวนเงินที่นำเข้าสินค้าเดือนกุมภาพันธุ์ แทนที่จะเรียก "E5:E8" แต้ถ้าเราตั้งว่า Feb หรือ ก.พ. ก็น่าจะเข้าใจมากกว่า


ตั้งชื่อเซลเพื่อให้เรียกใช้ได้ง่าย
ดูผลลัพธ์จากแถบสถานะ
ตัวดำเนินการ ( Operator )
การสร้างสูตรคำนวน
ฟังก์ชั่นและสูตรคำนวน

ตั้งชื่อใหม่ให้เซลหรือกลุ่มเซล
ตั้งชื่ออัตโนมัติจากหัวคอลัมน์หรือหัวแถว
อธิบาย
ชื่อ
กลุ่มเซล
กุมภาพันธุ์
เซลC3 - C12
มีนาคม
เซล D3 - D12

ตั้งชื่อเซลโดยใช้ กล่องชื่อ ( Name box )
วิธีนี้เป็นวิธีที่ง่ายและรวดเร็วที่สุดในการตั้งชื่อเซลหรือกลุ่มเซลเพียงกลุ่มเดียว เพราะคุณสามารถจะพิมพ์ชื่อเข้าไปในช่อง name box (กล่องชื่อ) ได้ทันที ( วิธีนี้ใช้ตั้งชื่อเซลได้อย่างเดียว แต่จะลบหรือเปลี่ยนชื่อไม่ได้ )
1. เลือกเซลหรือกลุมเซลที่ต้องการตั้งชื่อเป็นชื่อเดียวกัน
2. คลิกที่ช่อง name box (กล่องชื่อ) พิมพ์ชื่อหรือกลุ่มเซล
3. เสร็จแล้วกด Enter
ประโยชน์ของชื่อเซลที่ตั้งเอง



1. เลือกกลุ่มเซลที่ต้องการนำมาคำนวรค่า
2. คลิกขวาบนแถบ Status ( สถานะ ) แล้วเลือกผลลัพธ์ที่ต้องการจากเมนูลัดซึ่งจะประกอบด้วย
None (ไม่มี) ไม่ต้องคำนวณหาผลลัพธ์ใดๆเลย
Average (ค่าเฉลี่ย) หาค่าเแลี่ยของตัวเลข
Count (จำนวนนับ) นับจำนวนเวลทั้งหมดที่คุณเลือกไว้
Count Nums (นับเฉพาะสิ่งที่เป้นตัวเลข) นับจำนวนเซลที่เป็นตัวเลข
Max (ค่ามากที่สุด) หาค่าสูงสุดจากทุกๆเซลที่เลือก
Min (ค่าน้อยที่สุด) หาค่าต่ำสุดจากทุกๆเซลที่เลือก
Sum (ผลรวม) หาผลรวมของตัวเลข


ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์


Opertor
ความหมาย
ตัวอย่างการใช ้
+
บวก
4+7
-
ลบ
15-3 หรือ -6
*
คูณ
8*3.5
/
หาร
9/4
%
เปอร์เซ็นต์
3%(มีค่าเท่ากับ 0.03)
^
ยกกำลัง
2^3(หมายถึง 2 ยกกำลัง3)


ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ


Operator
ความหมาย
ตัวอย่างการใช ้
=
เท่ากับ
A1= B1
>
มากกว่า
A1> B1
<
น้อยกว่า
A1< B1
>=
มากกว่าหรือเท่ากับ
A1>= B1
<=
น้อยกว่าหรือเท่ากับ
A1<= B1
<>
ไม่เท่ากับ
A1<> B1


ตัวดำเนินการกับข้อความ ( Text Operator )



ข้อความในที่นี้อาจเป็นตัวอักษรเพียงตัวเดียว ข้อความทั้งประโยค หรือข้อความที่ไม่มีตัวอักษรอะไรเลยก็ได้ (null string ) ซึ่งเวลาเขียนจะใช้เครื่องหมายคำพูดปิดและเปิดติดกันดังนี้ " "



Operator
ความหมาย
ตัวอย่างการใช ้
&
นำข้อความตั้งแต่ 2 ข้อความข้อความขึ้นไปมาต่อเป็นข้อความเดียวกัน
"บริษัท"& "อาหารไทย" หรือ A1&B1& C1


ระดับความสำคัญ
Opertor แต่ละตัวมีระดับความสำคัญไม่เท่ากัน เช่น เราใส่สูตร =2+3*5 โดยเราต้องการใหโปรแกรมนำ 2+5 (ได้5) แล้วนำไปคูณกับ 5 จะได้เป็น 25 แต่เครื่องหมายคูณ* มีระดับความสำคัญสูงกว่าบวก + โปรแกมจึงนำ3*5 ก่อน(ได้15) แล้วจึงบวกกับ 2 ได้เป็น 17 วิธีที่จะบังคับให้ Excel คิดเหมือนที่เรา ก็คือใส่ ( ) คร่อมส่วนที่ต้องการคำนวณก่อนเป็น =(2+3)*5 เท่านี้ก็ได้คำตอบที่ถูกต้องแน่นอน

ตารางต่อไปนี้จะแสดงระดบความสำคัญของ Opertor ต่างๆจากมากไปน้อย โดย Opertor ที่มีระดับความสำคัญสูงจะถูกคำนวณก่อน และถ้ามี opertor ที่มีระดับความสำคัญเดียวกันในสูตร Excel จะคำนวณจากซ้ายไปขวาทีละตัว


ระดับ
Opertor
หมายเหตุ
1
-
คือเครื่องหมายที่แสดงค่าลบของตัวเลข เช่น 2
2
%
เปอร์เซ็นต์
3
^
ยกกำลัง
4
* และ /
คูณ และหาร
5
+ และ -
บาก และลบ
6
&
นำข้อความตั้งแต่2ข้อความขึ้นไปมาต่อกันเป็ฯข้อความเดียว
7
= < > <= => <>
ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ



พิมพ์สูตรคำนวณด้วยตัวเอง
วิธีที่ง่ายที่สุดในการสร้างสูตรก็คือพิมพ์ทุกอย่างลงไปเอง ไม่ว่าจะเป็นชื่อเซล ตัวเลข หรือเครื่องหมายคำนวณต่างๆ
1. คลิกเลือกเซลที่จะใส่สูตรคำนวณ
2. พิมพ์เครื่องหมาย =
3. พิมพ์สูตรโดยใช้ชื่อเซล หรือตำแหน่งเซล
4. กด Enter ก็ขะได้ผลลัพธ์



ฟังก์ชั่นถ้าเราจะกล่าวถึงก็เหมือนกับว่าเป็น Operand ตัวหนึ่ง โดยในสูตรอาจประกอบไปด้วยฟังก์ชั่นอย่างเดียว เช่น AVERAGE( A2:A5:B12 )ซึ่งเป็นการหาค่าเฉลี่ยของตัวเลขในเซล 3 เซลในวงเล็บ หรืออาจมีฟังก์ชั่นปนกับข้อมูลอื่น เช่น =B4/SUM( D5:F5) คือให้นำผลรวมของเซล D5 ถึง F5 ไปหารค่าในเซล B4
สำหรับอาร์กิวเมนต์ที่เป็นชื่อเซล จะพิมพ์ลงไปเองหรือคลิกเมาส์เลือกก็ได้
ใช้ปุ่ม Insert Function หรือแถบสูตรคำนวณ ช่วยใส่ฟังก์ชั่น

1. คลิกเซลที่ใส่ฟังก์ชั่น
2. คลิกปุ่ม Insert Function ( แทรกฟังก์ชั่น )หรือกด Shift+ F3
3. คลิกเลือกประเภทของฟังก์ชั่นจากเมนูของช่อง Or select a category ( หรือเลือกประเภท ) เช่น AVERAGE
4. คลิก ตกลง
6. คลิกปุ่ม Collapse
7. ใช้เมาส์คลิกที่เป็นอาร์กิวเมนต์หรือที่จะนำมาคำนวณ คลิกปุ่ม Collapse
8. กด ตกลงเพื่อจบสูตร


เลือกฟังก์ชั่นจากปุ่ม AotoSum ( ผลรวมอัตโนมัติ )
สำหรับฟังก์ชั่นต่างๆทำหน้าที่ต่างๆดังต่อไปนี้
Sum (ผลรวม) หาผลรวมของตัวเลข
Average (ค่าเฉลี่ย) หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
Count (จำนวน) นับจำนวนเซลทั้งหมดที่คุณเลือกไว้
Max (ค่ามากที่สุด) หาค่าสูงสุดจากทุกๆเซลที่เลือก
Min (ค่าน้อยที่สุด) หาค่าต่ำสุดของตัวเลข
More Functions (ฟังก์ชั่นเพิ่มเติม) ไปเลือกฟังก์ชั่นอื่นๆ

วันเสาร์ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2551

short cut key

Shortcut Key
เรามาเรียนรู้การใช้ คีย์บอร์ด กับคำสั่งต่างๆ แทนการใช้เมาส์ กันดีกว่า โดยวันนี้ได้ รวบรวมคำสั่งที่ใช้กันอยู่บ่อยๆ แต่อย่าลืมที่จะทำแถบดำ กับข้อความที่เราต้องการ ก่อนนะค่ะ
Shif + ปุ่มลูกศร
เลือกข้อความ โดยใช้ปุ่มลูกศรช่วยในการทำตำแหน่ง แถบดำ เลือก ซ้าย - ขวา - บน - ล่าง
Shif + End
เลือกข้อมูลจาก cursor ไปยังตัวสุดท้ายของบรรทัด
Shif + Home
เลือกข้อมูลจาก cursor ไปยังตัวแรกของบรรทัด
Ctrl + Esc
เรียกเมนู Start
Ctrl + C หรือ Ctrl+Insert
copy (คัดลอก) ข้อมูล
Ctrl + V หรือ Shift + Insert
paste(วางข้อมูล) ข้อมูล
Ctrl + X หรือ Shift + Delete
cut (ตัด) ข้อมูล
Ctrl + P
print (พิมพ์)
Ctrl + B
เน้นอักษรหนา หรือกลับเป็นปกติ
Ctrl + U
ขีดเส้นใต้อักษร
Ctrl + I
ทำให้เป็นอักษรตัวเอน
Ctrl + E
จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง
Ctrl + R
จัดข้อความชิดขวา
Ctrl + L
จัดข้อความชิดซ้าย
Ctrl + A
Select All (เลือกทั้งหมด)
Alt + Tap
เปลี่ยนสลับหน้าต่างโปรแกรมที่เปิดอยู่
Tap
ใช้ในการเลือก ปุ่ม หรือ ช่องข้อความต่างๆ
F1
Help
Esc
ยกเลิกการเรียกใช้คำสั่ง
ครั้งนี้มีบทความ คลายเครียดเรื่อง "ศัพท์คอมพิวเตอร์" มาให้อ่านกันด้วยค่ะ ## ติดตามอ่าน ทิป ใหม่ๆทุก 2 อาทิตย์ นะค่ะ \(^-^)/

วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2551

การพิมพ์อักษรแป้นเหย้า

การพิมพ์บทที่ 1 อักษรแป้นเหย้า ฟ ห ก ด อ่ อา ส ว
การพิมพ์อักษรแป้นเหย้าประจำนิ้วตามแผนผัง เรียงตามลำดับจากนิ้วก้อยซ้ายจนถึงนี้วก้อยขวา
บทที่ 2 การพิมพ์อักษรแป้นเหย้า เ อ้ ง
การก้าวนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดไว้ที่แป้นเหย้า
เ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ไปทางขวาดีดที่แป้น เ
อ้ ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ไปทางซ้ายดีดที่แป้น อ้
ง ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ไปทางขวาดีดที่แป้ง ง
บทที่ 3 การพิมพ์อักษรแป้นเหย้า พ อะ อี อั อำ ร
พ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น พ
อะ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น อะ
อี ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น อี
อั ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น อั
อำ ก้าวนิ้ว กลางซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น อำ
ร ก้าวนิ้ว กลางขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ร
บทที่ 4 การพิมพ์อักษรแป้น อ อิ ท อื แ ม
อ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ลงมาดีดที่แป้น อ
อิ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ลงมาดีดที่แป้น อิ
ท ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ลงมาดีดที่แป้น ท
อื ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ลงมาดีดที่แป้น อื
แ ก้าวนิ้ว กลางซ้าย ลงมาดีดที่แป้น แ
ม ก้าวนิ้ว กลางขวา ลงมาดีดที่แป้น ม
บทที่ 5 การพิมพ์อักษรแป้น ไ ป น ใ ๆ ผ ย
การก้าวนิ้ว วางนิ้วทั้งหมดที่แป้นเหย้า
ไ ก้าวนิ้ว นางซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น ไ
ป ก้าวนิ้ว นางซ้าย ลงมาดีดที่แป้น ป
น ก้าวนิ้ว นางขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น น
ใ ก้าวนิ้ว นางขวา ลงมาดีดที่แป้น ใ
ๆ ก้าวนิ้ว ก้อยซ้าย ขึ้นมาดีดที่แป้น ๆ
ผ ก้าวนิ้ว ก้อยซ้าย ลงมาดีดที่แป้น ผบทที่ 7 การพิมพ์อักษรแป้น ถ ภ ค ต อึ อุ
ถ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น ถ
ภ ก้าวนิ้ว กลางซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น ภ
ค ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ค
ต ก้าวนิ้ว กลางขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ต
อึ ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น อึ
อ่ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น อ่
บทที่ 6 การพิมพ์อักษรแป้น บ ล ฝ
บ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น บ
ล ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ล
ฝ ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ลงมาดีดที่แป้น ฝ
บทที่ 7 การพิมพ์อักษรแป้น ถ ภ ค ต อึ อุ
ถ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น ถ
ภ ก้าวนิ้ว กลางซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น ภ
ค ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ค
ต ก้าวนิ้ว กลางขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ต
อึ ก้าวนิ้ว ชี้ขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น อึ
อ่ ก้าวนิ้ว ชี้ซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น อ่
บทที่ 8 พิมพ์อักษรแป้น จ ข ช - /
จ ก้าวนิ้ว นางขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น จ
ข ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ข
ช ก้าวนิ้ว ก้อยขวา ขึ้นไปดีดที่แป้น ช
- ก้าวนิ้ว นางซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น -
/ ก้าวนิ้ว ก้อยซ้าย ขึ้นไปดีดที่แป้น /
บทที่ 9 การพิมพ์อักษรแป้น โ ฌ อ็ อ๋ ฑ ธ อ๊ ณ
ใช้นิ้วก้อยขวายกแคร่แล้วใช้นิ้วดีดแป้นตามตัวอักษร
บทที่ 10 การพิมพ์อักษรแป้น ฎ ฏ ษ ศ “ ฆ ฯ
ใช้นิ้วก้อยขวายกแคร่แล้วใช้นิ้วดีดตามแป้นอักษร
ฎ ก้าวนิ้วกลาง ขึ้นไปดีดแป้น ฏ
ฏ ก้าวนิ้วกลางซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น ฏ
ษ ก้าวนิ้วกลางขวา ดีดแป้น ษ
ฆ ก้าวนิ้วนางซ้าย ดีดแป้น ฆ
“ ก้าวนิ้วนางซ้าย ขึ้นไปดีดแป้น “
ศ ใช้นิ้วนางขวา ดีดแป้น ศ
ฯ ก้าวนิ้วนางขวา ขึ้นไปดีดแป้น ฯ